vipassana - หลวงพ่อวิโมกข์
  หน้าแรก
  ศูนย์พิทักษ์ศาสนา
  พุทธประวัติ
  พระอรหันต์
  พระอริยบุคคล
  พระไตรปิฎก
  ศาสนาในโลก
  ศาสนาพุทธ
  ภิกษุ-สมณะ
  การปกครองสงฆ์ไทย
  พระศรีอาริย์โพธิสัตว์
  นรก
  18 อภิญญา
  19 กฎแห่งกรรม
  19.1 กฏแห่งกรรม
  20 แก้ กรรมเก่า
  21 วิบากกรรม
  22 ผลกรรมเมื่อผิดศีล 5
  23 ลดกรรม 45
  24.1 คู่กรรม คู่บารมี
  Titel der neuen Seite
  28 กรรมฆ่าตัวตาย
  กรรมให้ผลอย่างไร ?
  เหตุให้กะเทย
  อาถรรพ์สวาท
  31 กรรมเก่ากรรมใหม่
  กรรมบท 10
  34 อกุศลกรรม 10
  กิเลส1500ตัณหา108
  35 ความตาย
  เยี่ยมเมืองนรก
  38 โอปปาติกะ
  43 ตายจะไปเกิดที่ไหน
  สวรรค์
  คนเหนือดวง
  บุญ
  บำเพ็ญ วิปัสนา
  ปฏิบัติกรรมฐาน
  ญาณ 16
  อสุภกรรมฐาน
  Home
  กรรมฐานแก้กรรม
  ธรรมที่อุปการะสมาธิ
  วิธีเจริญภาวนา
  วิริยบารมี ,ปัญญา
  63 มโนมยิทธิ
  65 วิปัสสนูปกิเลส
  ศีล สมาธิ ปัญญา
  69 ศีล 5 . 8 .10. 227
  ศีล 5 แบบละอียด
  9.3 ศีล พระธุดงค์
  มงคลสูตร ๑๐
  อานาปานสติ
  มงคล ๓๘ ประการ
  พฺรหฺมจริยญฺจ
  มรรคมีองค์ 8
  สังโยชน์ ๑๐
  สติปัฎฐาน ๔
  ปฏิจจสมุปบาท
  วิชชาจรณสัมปันโน
  จิตประภัสสร
  ฟัง หลวงปู่มั่น
  ฟัง พระโชดกญาณ
  ฟัง หลวงพ่อชา
  ฟัง หลวงพ่อพุธฐานิโย
  ฟัง หลวงพ่อจรัญ
  ฟัง หลวงปู่เณรคำ
  ฟัง พระพรหมคุณา
  ฟัง หลวงปู่พุทธะ
  ฟัง สมภพโชติปัญโญ
  ฟัง พระมหา วชิรเมธี
  ฟัง ดร.สนอง วรอุไร
  ฟัง แม่ชีทศพร
  เกิดมาทำไม
  ติดต่อโลกวิญญาณ
  หลวงปู่แหวน แผ่เมตตา
  หลวงพ่อปาน
  พุทธสุภาษิต ร้อยผกา
  เปรียบศาสนา
  เตือนสติผู้ปฏิบัติ
  พระดูหมอผจญมาร
  หนีบาป
  บริจาคเลือด
  ขยะในใจ
  วิวาห์ ทารุณ
  วิธีช่วยคนใกล้ตาย
  หลวงพ่อวิโมกข์
  การประเคน
  การจุดธูปบูชา
  การแผ่เมตตา
  วิธีใช้หนี้พ่อแม่
  คุณบิดา-มารดา
  วิธีกราบ
  อธิษฐาน
  แด่เธอผู้มาใหม่
  แขวนพระเพื่ออะไร
  เลือกเกิดได้จริง
  ทำนายฝัน
  พระเจ้าทำนายฝัน
  เสียงธรรมะ
  สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม
  นิทานธรรมะ
  ฟังเสียง หนังสือ
  ฟัง นิทานอีสป
  ละครเสียงอิงธรรม
  เสียง อ่านหนังสือ
  เสียง ทางสายเอก
  หนังสือธรรมะ
  ฟังบทสวดมนต์
  เทศน์มหาชาติ
  เพลงสร้างสรรค์
  สารบัญคำสอน
  เรื่องจริงอิงนิทาน ลี้ลับ
  แนะวิธีหนีนรกแบบง่ายๆ
  แนะนำ วิธีป้องกัน โรค
  F 1 บำบัดความเครียด
  F 2 ความวิตกกังวล
  F 3 วิธีรักษา โรคต่างๆ
  F 4 ตรวจสุขภาพผู้หญิง
  F 5 มะเร็ง
  F 6 ทำแท้งเถื่อน
  F 7 เป็นภูมิแพ้
  F 8 การช่วยชีวิตฉุกเฉิน
  ข่าว บันเทิง
  M 1 ดูทีวีออนไลน์
  M 2 ฟังวิทยุ
  M 3 หนังสือพิมพ์วันนี้
  M 4 หอ มรดกไทย
  M 6 ที่สุดของโลก
  M7 เรื่องน่ารู้
  M 9 ตอบ-อ่าน
  M 10 ดูดวง..
  M 11 ฮวงจุ้ย จีน
  ค้นหา ข้อมูลช่วยเหลือ
  S 1 ท่องเที่ยวไทย
  S 2.1 สถานีขนส่ง - Bahnhof
  S 2.2 GPS
  S 4 เวลา อากาศ โลก
  S 5 กงสุลใหญ่
  S 6 เว็บไซต์สำคัญ
  วัดไทยในต่างแดน
  S 8 ราคาเงินยูโรวันนี้
  S 9 ราคาทองคำวันนี้
  S 10 แปล 35 ภาษาไทย
  S 11 บอกบุญ ทำบุญ
  D 1 Informationen Thailand
  D 2 Buddha
  D 4 Super foto
  Z 1 Clip คำขัน
  Z 2 Clip นิทานธรรมะ
  Z 4 Clip เรื่องจริง
  Clip กรรมลิขิต
  Z 6 Clip หนัง Kino
  การใช้ชีวิตคู่
  เกมส์คุณหนู
  "สุข" แม้ในยาม เศร้า
  ธรรมะเพื่อชีวิต เสียงอ่าน
  รวมบทความธรรมะ
  ค่าน้ำนม
  ฟังเสียงสวดมนต์
  ศาลาปฏิบัติกรรมฐาน
  Kontakt


 

ลำดับที่
จากจิตวิทยา สู่จิตภาวนา ฉบับแยกหมวดธรรม
คลิกที่ไอคอน wma ฟังธรรมะออนไลน์
คลิกขวาที่ไอคอนไฟล์mp3 ดาวน์โหลด MP3
๐๑๐๑-จากจิตวิทยาสู่จิตภาวนา ๗๘.๑๘
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๐๒๐๑-ตำแหน่งของข้อปฏิบัติทางจิตใจในระบบพระพุทธศาสนา ๑๐๑.๔๘
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๐๓๐๑-ความสัมพันธ์ระหว่างจิตภาวนากับปัญญาภาวนา ๘๔.๕๘
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๐๔๐๑-บุพภาคของการเจริญภาวนา ๑๒.๐๗
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๐๔๐๒-ปลิโพธ ๑๐.๔๖
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๐๔๐๓-เข้าหากัลยาณมิตร เรียนกรรมฐานกับพระอาจารย์ ๑๑.๒๕
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๐๔๐๔-เลือกหาที่สัปปายะ ๗.๓๕
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๐๔๐๕-พิธีสมาทานกรรมฐาน ๘.๔๙
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๐๕๐๑-พิธีสมาทานกรรมฐาน คุณพระรัตนตรัย ๑๓.๓๔
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๐
๐๕๐๒-สมาทานศีล อธิษฐาน แผ่เมตตา มรณสติ ระลึกถึงบุญ ข้อห้าม ๔๑.๔๒
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๑
๐๖๐๑-ความหมายของภาวนา กรรมฐาน อารมณ์ ๑๙.๕๕
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๒
๐๖๐๒-กรรมฐานที่ใช้ในการเจริญสมถภาวนา ๑๑.๒๒
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๓
๐๖๐๓-กรรมฐาน๔๐ ๕๕.๓๐
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๔
๐๗๐๑-เกณฑ์ในการเลือกกรรมฐาน ๕.๔๙
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๕
๐๗๐๒-จริต๖และหลักการดูจริต ๑๒.๓๖
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๖
๐๗๐๓-การเลือกกรรมฐานโดยพิจารณาให้เหมาะกับจริต ๗.๕๘
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๗
๐๗๐๔-ขีดขั้นของความสำเร็จที่กรรมฐานจะให้ได้ ๙.๒๔
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๘
๐๗๐๕-ผลสำเร็จของการเจริญจิตภาวนา การละนิวรณ์ สมาธิ ๓ อย่าง ๑๒.๑๖
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๑๙
๐๗๐๖-สมาบัติ ๘ อภิญญา ๖ ๑๙.๒๙
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๐
๐๗๐๗-ความก้าวหน้าหรือขั้นตอนในการปฏิบัติ นิมิต ๓ ภาวนา ๓ ขั้น ๒๒.๑๓
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๑
๐๘๐๑-จากจิตภาวนาสู่ปัญญาภาวนาตามวิธีสติปัฏฐาน ๔๙.๑๕
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๒
๐๘๐๒-ความหมายของวิปัสสนา ๑๐.๑๕
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๓
๐๘๐๓-วิปัสสนาภูมิ ๖ ๔๓.๕๖
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๔
๐๙๐๑-โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ ๔๑.๐๕
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๕
๐๙๐๒-วิสุทธิ ๗ ๒๔.๒๘
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๖
๐๙๐๓-วิปัสสนาญาณ ๙ ๑๑.๕๔
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๗
๐๙๐๔-ญาณ ๑๖ ๑๓.๓๓
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๘
๐๙๐๕-ปริญญา ๓ ๗.๒๒
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๒๙
๐๙๐๖-อนุปัสสนา ๓ ๒.๐๗
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๐
๐๙๐๗-ตัวอุปสรรคในกระบวนการปฏิบัติ(วิปัลลาส๔ วิปัสสนูปกิเลส๑๐) ๙.๑๐
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๑
๐๙๐๘-ความจริงที่ถูกเปิดเผยโดยวิปัสสนา ๗.๑๔
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๒
๑๐๐๑-หลักการทั่วไปของสติปัฏฐาน ๕.๑๖
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๓
๑๐๐๒-ความหมายของสติปัฏฐาน ๑๐.๒๑
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๔
๑๐๐๓-อารมณ์ของสติปัฏฐานโดยย่อ ๗.๕๔
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๕
๑๐๐๔-กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๒๖.๕๒
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๖
๑๐๐๕-เวทนา-จิตตา-ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑๗.๒๒
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๗
๑๐๐๖-ข้อสังเกตและข้อแตกต่าง ๗.๑๔
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๘
๑๐๐๗-หลักการปฏิบัติ ความมุ่งหมาย และตัวทำงาน ๑๑.๕๙
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๓๙
๑๐๐๘-วิธีการกำหนดและวางใจ ๒๖.๑๕
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๐
๑๐๐๙-กระบวนวิธีปฏิบัติและเทคนิค ๖.๑๑
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๑
๑๑๐๑-การใช้อานาปานสติโยงสู่สติปัฏฐานสี่ ๑๒.๒๗
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๒
๑๑๐๒-ลำดับการปฏิบัติในการเจริญอานาปานสติ ๑๖ ขั้น ๑๐.๑๙
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๓
๑๑๐๓-ข้อควรทราบที่๑(สิกฺขติ=ศึกษาว่า ปชานาติ=รู้ชัดว่า) ๒.๒๗
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๔
๑๑๐๔-ข้อควรทราบที่๒(สังขาร๓) ๑๙.๒๙
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๕
๑๑๐๕-ข้อควรทราบที่๓(นิวรณ์๕ องค์ฌาน๕ ธรรมสมาธิ๕) ๔๓.๒๐
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๖
๑๑๐๖-ลำดับการปฏิบัติ ๒๓.๐๕
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๗
๑๒๐๑-หมวดที่๑ กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑๓.๕๑
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๘
๑๒๐๒-หมวดที่๒ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑๑.๐๔
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๔๙
๑๒๐๓-หมวดที่๓ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑๔.๑๒
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๕๐
๑๒๐๔-หมวดที่๔ ธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ๑๒.๒๐
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา
๕๑
๑๒๐๕-ความสำเร็จของการปฏิบัติ(โพชฌงค์๗) ๒๑.๔๘
คลิกฟังเสียงธรรมเทศนา

คลิกที่ไอคอน wma ฟังธรรมะออนไลน์
Windows Media Audio : คือรูปแบบไฟล์เสียงระบบดิจิตอลที่เหมาะสำหรับการฟังผ่านเว็บ

คลิกขวาที่ไอคอนไฟล์mp3 ดาวน์โหลด MP3
MPEG-1 Audio Layer 3 : คือรูปแบบไฟล์เสียงระบบดิจิตอลที่เหมาะสำหรับจัดเก็บในรูปแบบซีดีเสียงหรือใช้กับเครื่องเล่น MP3

กลับหน้าหลัก ธรรมบรรยาย(MP3)
ขึ้นไปด้านบน
วัดญาณเวศกวัน ตำบลบางกระทึก อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

ภาวนา  นั้นแปลว่า การอบรมคุณธรรม,  ภาวนามี ๔ อย่าง คือ

 

๑.      กายภาวนา  อบรมร่างกายให้เข้มแข็งอดทน  อบรมร่างกายให้มีประโยชน์  เช่นการอบรมเรื่องการกินอยู่  บริหารร่างกาย  เสียสละเรี่ยวแรงให้เป็นประโยชน์เป็นต้น

 

๒.     สีลภาวนา  อบรมศีล  ผู้เข้าอบรมที่ทีปภาวันธรรมสถาน  จะต้องเป็นผู้ที่มีศีลอย่างน้อยก็ศีลห้าคือ

๑.      ไม่ประทุษร้ายชีวิต

๒.     ไม่ประทุษร้ายทรัพย์สมบัติของผู้อื่น

๓.     ไม่ประทุษร้ายของรักของผู้อื่น

๔.     ไม่ประทุษร้ายความเป็นธรรมของผู้อื่น ด้วยการพูดไม่จริงของเรา

๕.     ไม่ประทุษร้านสติสัมปชัญญะของตัวเอง ด้วยการเสพของมึนเมาทุกชนิด

 

๓.     จิตตภาวนา  หรือ สมถะภาวนา  คือการอบรมจิตใจให้สงบเป็นสมาธิอันได้แก่จิตบริสุทธิ์  จิตตั้งมั่น  จิตอ่อนโยน  ควรแก่การงาน  ที่ทีปภาวันธรรม-สถาน  เราเน้นเรื่องนี้มาก  เพราะสมาธิเป็นความสุขสงบ  ลดความเครียดเป็นหนทางแห่งสำเร็จ  ในสิ่งที่ตนปรารถนา

 

๔.     ปัญญาภาวนา  หรือ วิปัสสนาภาวนา  คือการอบรมจิตให้เกิดปัญญา มองเห็นสิ่งทั้งหลายทั้งปวงตามที่มันเป็นจริง  ถ้าปฏิบัติได้ผลจะทำให้หมดทุกข์ หมดปัญหา  มีชีวิตเย็นเป็นประโยชน์

 


พระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ

 


          ทาน คือ เครื่องแสดงน้ำใจของมนุษย์ผู้มีจิตใจสูง มีเมตตาจิตต่อเพื่อนมนุษย์และสัตว์ด้วยการให้ การเสียสละแบ่งปัน มากน้อยตามกำลังของวัตถุเครื่องสงเคราะห์ที่มีอยู่ จะเป็นวัตถุทาน ธรรมทาน หรือวิทยาทาน เพื่อสงเคราะห์ผู้อื่นโดยไม่หวังสิ่งตอบแทนใดๆ นอกจากกุศล คือ ความดีที่ได้จากทานนั้น เป็นสิ่งตอบแทนที่เจ้าของทานได้รับอยู่โดยดีเท่านั้น อภัยทานควรให้แก่กัน เมื่ออีกฝ่ายหนึ่งผิดพลาดหรือล่วงเกิน
            คนที่มีทานย่อมเป็นผู้สง่างาม และเด่นในปวงชน เป็นที่รักและเคารพในหมู่ชน จะตกอยู่ทิศทางใดไม่อดอยากขาดแคลน จะมีสิ่งหรือผู้อุปถัมภ์จนได้ ไม่อับจนทนทุกข์ ผู้มีทานประดับตนย่อมไม่เป็นคนล้าสมัย บุคคลทุกชั้นไม่รังเกียจ
            ผู้ที่มีทานย่อมเป็นผู้อบอุ่น หนุนโลกให้ชุ่มเย็น การเสียสละจึงเป็นเครื่องค้ำจุนโลก การสงเคราะห์กันทำให้โลกมีความหมายตลอดไป ไม่เป็นโลกที่ไร้ชาติขาดกระเจิง เหลือแต่ซาก แผ่นดินไม่แห้งแล้งแข่งกับทุกข์ตลอดไป


              ศีล คือ รั้วกั้นความเบียดเบียนและการทำลายสมบัติร่างกายและจิตของกันและกัน ศีล คือ พืชแห่งความดีอันยอดเยี่ยมที่ควรมีประจำชาติทนุษย์ ไม่ปล่อยให้สูญหายไป เพราะมนุษย์ที่ไม่มีศีลเป็นรั้วกั้น เป็นเครื่องประดับตัว จะไม่มีที่ให้ซุกหัวนอนหลับสนิทได้โดยปลอดภัย แม้โลกเจริญด้วยวัตถุจนกองสูงกว่าพระอาทิตย์ แต่ความเร่าร้อนแผดเผาจะทวียิ่งกว่าพระอาทิตย์ ถ้ามัวแต่คิดว่าวัตถุมีค่ามากกว่าศีลธรรม ศีลธรรมเป็นเพียงสมบัติของมนุษย์ พระพุทธเจ้าทรงค้นพบและนำมาประดับโลก ที่กำลังมืดมิดให้สว่างไสว ร่มเย็นด้วนอำนาจศีลธรรมเป็นเครื่องปัดเป่า
             ความคิดของมนุษย์ผู้มีกิเลสผลิตอะไรออกมาทำให้โลกร้อนจะบรรลัยอยู่แล้ว ยิ่งปล่อยให้ความคิดไปตามอำนาจโดยไม่มีศีลธรรมช่วยเป็นยาชะโลมไว้บ้าง จะผลิตยักษ์ใหญ่ทรงพิษขึ้นมากว้านกินมนุษย์ จนไม่มีอะไรเหลืออยู่ ความคิดของคนสิ้นกิเลสที่ทรงคุณอย่างสูง คือพระพุทธเจ้า มีผลให้โลกได้รับความร่มเย็บซาบซึ้ง กับความคิดที่เป็นกิเลสมีผลให้ตนเองและผู้อื่นได้รับความเดือดร้อนจนคาดไม่ถึง ผิดกันอยู่มาก ควรหาทางแก้ไข ผ่อนหนักให้เป็นเบาลงบ้าง ก่อนจะหมดทางแก้ไข ศีลจึงเป็นเหมือนยาปราบโรค ทั้งโรคระบาดและเรื้อรัง


             ภาวนา คือ การอบรมใจให้ฉลาดเที่ยงตรงต่อเหตุผลอรรถธรรม รู้จักวิธีปฎิบัติต่อตนเองและสิ่งทั้งหลาย ยึดการภาวนาเป็นรั้วกั้นความคิดฟุ้งซ่านของใจ ให้อยู่ในเหตุผลอันเป็นทางแห่งความสงบสุข ใจที่ยังไม่ได้รับการอบรมจากภาวนา จึงเปรียบเหมือนสัตว์ ที่ยังมิได้รับการฝึกหัด จึงยังมีได้รับประโยชน์จากมันเท่าที่ควร
               ใจจึงควรได้รับการอบรมให้รู้เรื่องของตัว จะเป็นผู้ควรแก่งานทั้งหลาย ทั้งส่วนเล็กและส่วนใหญ่ ทั้งภายนอกและภายใน ผู้ที่มีภาวนาเป็นหลักใจ จะทำอะไรชอบใช้ความคิดก่อนเสมอ ไม่เสี่ยงและไม่เกิดความเสียหายแก่ตนและผู้เกี่ยวข้อง
                การภาวนาจึงเป็นงานเพื่อผลในปัจจุบันและอนาคต การงานทุกชนิดที่ทำด้วยใจของผู้ที่มีภาวนา จะสำเร็จด้วยความเรียบร้อย ทำด้วยความใคร่ครวญ เล็งถึงผลประโยชน์ที่ได้รับ เป็นผู้มีหลักมีเหตุมีผล ถือหลักความถูกต้องเป็นเข็มทิศทางเดินของกาย วาจา ใจ ไม่เปิดช่องให้ความอยากอันไม่มีขอบเขตเข้ามาเกี่ยวข้อง เพราะความอยากดั้งเดิมเป็นไปตามอำนาจของกิเลสตัญหา ซึ่งไม่เคยสนใจต่อความผิด ถูกชั่วดี จะเอาโทษมันก็ไม่ได้ ยอมให้เสียไปอย่างน่าเสียดาย ถ้าไม่มีสติรำลึกบ้างเลยแล้ว ของเก่าก็เสียไป ของใหม่ก็จมไปด้วย ไม่มีวันฟื้นตัว การภาวนาจึงเป็นเครื่องหักล้างความไม่มีเหตุผลของตนได้ดี วิธีภาวนานั้นลำบากอยู่บ้าง เพราะเป็นวิธีบังคับใจ โดยวิธีสังเกตตัวเอง สังเกตจิตที่อยู่ไม่เป็นสุข ด้วยความมีสติ รู้ถึงความเคลือนไหวของจิต โดยมีธรรมบทใดบทหนึ่งเป็นคำบริกรรม เพื่อเป็นยารักษาจิตให้ทรงตัวอยู่ได้ด้วยความสงบสุขในขณะภาวนา

Heute waren schon 71 Besucher (101 Hits) hier!
Diese Webseite wurde kostenlos mit Homepage-Baukasten.de erstellt. Willst du auch eine eigene Webseite?
Gratis anmelden